‘-잖아요’ วางไว้หลังคำกริยา, คำคุณศัพท์ และคำนาม ใช้ในกรณีที่ผู้พูดและผู้ฟังต่างก็รู้เรื่องนั้น ๆ อยู่แล้วหากเป็นคำนามจะใช้รูปประโยคเป็น ‘คำนาม + (이)잖아요’
-잖아요 attached to a verb, an adjective, or a noun, indicates that both a speaker and a listener are aware of the fact or the content of a topic. (When -잖아요 is attached to a noun, ‘noun + -(이)-잖아요’ is used.)
가: 수피카 씨의 친구들도 한국 가수를 좋아해요?
เพื่อน ๆ ของคุณสุภิกาชอบนักร้องเกาหลีไหมคะ
나: 그럼요. 노래도 잘하고 멋있잖아요.
แน่นอนค่ะ ก็พวกเขาทั้งเท่และร้องเพลงเก่งนี่คะ
가: 주말에 쇼핑하러 백화점에 갈까요?
วันหยุดสัปดาห์นี้เราไปชอปปิงที่ห้างสรรพสินค้ากันไหมคะ
나: 다음 주말에 가는 게 어때요? 다음 주말부터 세일 기간이잖아요.
เอาไว้ค่อยไปสัปดาห์หน้าดีไหมคะ เพราะช่วงเซลส์จะเริ่มตั้งแต่อาทิตย์หน้าเป็นต้นไปนี่คะ
2. 대화를 읽고 맞는 대답을 고르세요. จงอ่านบทสนทนาแล้วเลือกคำตอบที่ถูกต้อง
1) 가: 모니카 씨, 이 사과 어디에서 샀어요?
คุณโมนิกา ซื้อแอปเปิ้ลมาจากที่ไหน
나: 시장에서 샀어요.
ซื้อ มาจากตลาด ก็ที่ตลาดดราคาถูกนี่ค่ะ
① 시장이 싸잖아요
② 시장이 비싸잖아요
2) 가: 투안 씨, 왜 우산을 가지고 왔어요?
คุณตวน ทำไมถึงเอาร่มมาด้วยล่ะ?
나: 밖을 보세요.
ดูข้างนอกสิครับ ฝนตกอยู่ นี่ครับ
① 비가 오잖아요
② 날씨가 좋잖아요
정답 1) ① 2) ①
유용한 표현 ประโยคน่ารู้
입에 잘 맞아요.
รสชาติถูกปากมากเลยค่ะ
가: 한국 음식이 매워서 먹기 힘들지요?
อาหารเกาหลีรสชาติเผ็ด กินยากใช่ไหมครับ
나: 아뇨, 입에 잘 맞아요.
ไม่ค่ะ รสชาติถูกปากมากเลยค่ะ