วันอาทิตย์ที่ 14 กันยายน พ.ศ. 2557

38 : 대화 2 บทสนทนา 2

จีฮุนกำลังถามตวนเกี่ยวกับเรื่องที่ทะเลาะกับบารุ

지 훈 : 투안 씨, 조금 전에 바루 씨하고 왜 싸운거예요?
            Tuan, why did you make an argument with Barujust before?
            คุณตวน คุณทะเลาะกับคุณบารุเมื่อสักครู่หรือครับ

투 안 : 별일 아니에요. 바루 씨가 제 말에 대답을하도 안 해서 저를 무시하는 줄 알았어요.
            Oh, it’s nothing. I thought he ignored me, because he didn’t respond to me at all. But,
            ไม่มีอะไรเลยครับ คุณบารุไม่ตอบผม ผมเลยเข้าใจว่าเขาไม่สนใจ

            그런데 기계 소리 때문에 못 들었다고하더라고요.
            he said that he hadn’t heard me because of the noise from the machine.
            แต่ที่จริงแล้วเพราะเครื่องจักรเสียงดังเลยทำให้ไม่ได้ยินครับ

지 훈 : 아, 그럼 서로 오해한 거네요.
            Oh, then you miunderstood each other.
            อ๋อ เป็นเรื่องเข้าใจผิดกันนี่เอง

            이젠 화해했지요?
            You fixed the relationship with him, didn’t you?
            ปรับความเข้าใจกันแล้วใช่ไหมครับ

투 안 : 그럼요. 저도 사과했고, 바루 씨도 미안하다고 했어요.
            Yes, I made an apology, and he also apologized to me.
            แน่นอนครับ ผมก็ขอโทษเขา และคุณบารุก็ได้ขอโทษผมครับ

지 훈 : 잘했어요. 동료끼리 잘 지내야지요.
            That’s good. You should have a good relation ship with your co-workers.
            ดีแล้วครับ เราต้องรักษาความสัมพันธ์ที่ดีของที่ทำงานครับ

하도 อย่างมาก  คำที่ใช้เน้นย้ำอย่างหนักแน่นหรืออย่างใหญ่มาก

            하도 바빠서 밥 먹을시간도 없다.
            ยุ่งมากจนไม่มีเวลากินข้าว

-더라고요 เพิ่งรู้ว่า สำนวนที่ใช้เมื่อนำข้อเท็จจริงเกี่ยวกับสิ่งที่ประสบมาในอดีตจึงเพิ่งได้รู้มาถ่ายทอดแก่ผู้ฟังในขณะนี้

            한국 음식이 참 맛있다고하더라고요.
            เพิ่งรู้ว่าอาหารเกาหลีอร่อยนะครับนี่

อ่านตาม

1. 바루 씨는 왜 투안의 말을 못 들었어요?
    ทำไมบารุถึงไม่ได้ยินสิ่งที่ตวนพูด

2. 투안 씨과 바루는 서로 화해했어요?
    ตวนและบารุปรับความเข้าใจกันแล้วหรือไม่

정답 1. 기계 소리 때문에 못 들었어요. 2. 네, 두 사람은 서로 화해했어요.

Tip 간접화법 วิธีถอดคำพูดของคนอื่นมากล่าวต่อ

간접화법은 다른 사람의 말을 옮겨 말할 때 사용하는 화법으로 문장의 종결 유형에 따라서 다르게 실현된다. 옮겨 말하는 문장이 평서문일 때는 ‘-다고 하다’를, 명령문일 때는 ‘-(으)라고 하다’를, 의문문일 때는 ‘-냐고 하다’를, 청유문일때 는 ‘-자고 하다’를 사용한다.

วิธีถอดคำพูดของคนอื่นมากล่าวต่อ หมายถึง การพูดประโยคที่ผู้อื่นพูดอีกครั้งหนึ่ง และรูปประโยคต้องมีการเปลี่ยนแปลงทางโครงสร้างเมื่อมีการนำมาพูดอีกครั้งกรณีประโยคบอกเล่าจะเติม ‘-다고 하다’ หลังคำกริยาหลักของประโยค ส่วนประโยคคำสั่งจะเติม ‘-(으)라고 하다’ ประโยคคำถามจะเติม ‘-냐고 하다’และประโยคชักชวนจะเติม ‘-자고 하다